หมวดหมู่ของบทความนี้จะพูดถึงคำ อาราธนาธรรม หากคุณต้องการเรียนรู้เกี่ยวกับคำ อาราธนาธรรมมาเรียนรู้เกี่ยวกับหัวข้อคำ อาราธนาธรรมกับDr.Zenในโพสต์EP. 59 คำอาราธนาธรรมนี้.
สารบัญ
สรุปเนื้อหาที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับคำ อาราธนาธรรมในEP. 59 คำอาราธนาธรรมล่าสุด
ที่เว็บไซต์drzen.netคุณสามารถเพิ่มเนื้อหาอื่น ๆ นอกเหนือจากคำ อาราธนาธรรมเพื่อความรู้ที่เป็นประโยชน์มากขึ้นสำหรับคุณ ในหน้าDr.Zen เราอัปเดตข้อมูลใหม่และถูกต้องสำหรับผู้ใช้เสมอ, ด้วยความปรารถนาที่จะให้บริการข้อมูลที่สมบูรณ์ที่สุดสำหรับคุณ ช่วยให้ผู้ใช้สามารถอัพเดทข่าวสารทางอินเทอร์เน็ตได้ครบถ้วนที่สุด.
การแบ่งปันที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อคำ อาราธนาธรรม
#สาระน่ารู้ #ข้อคิดดีๆ #ธรรมะ #ธรรมะสอนใจ
ภาพถ่ายบางส่วนที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อของคำ อาราธนาธรรม

นอกจากการเรียนรู้เนื้อหาของบทความ EP. 59 คำอาราธนาธรรม นี้แล้ว คุณสามารถดูและอ่านบทความเพิ่มเติมด้านล่าง
คลิกที่นี่เพื่อดูข้อมูลใหม่เพิ่มเติม
คำแนะนำที่เกี่ยวข้องกับคำ อาราธนาธรรม
#คำอาราธนาธรรม.
สาระ ข้อคิด คติธรรม.
EP. 59 คำอาราธนาธรรม.
คำ อาราธนาธรรม.
เราหวังว่าการแบ่งปันที่เราให้ไว้จะเป็นประโยชน์กับคุณ ขอบคุณมากสำหรับการรับชมคำ อาราธนาธรรมข่าวของเรา
ขอบทที่ถูกต้องครับ
ใช้ตามมนพิธืครับ
สาธุค่า
สาธุสาธุสาธุค่ะ
ไม่รู้ว่าจะเชื่อใครดี บางท่านก็บอกว่า กัตอัญชลีผิด บางคนก็ว่ากตัญชลีผิดหนังสือสวดมนต์ที่พิมพ์ใหม่ก็เปลี่ยนเป็นกตัญชลี อนธิวรังหมดแล้วโดยอ้างอิงมาจากพระไตรปิฎกเล่มที่๓๓ จะเชื่อใครดี
สาธุๆค่ะ
เรื่องนี้ต้องคุยอีกนานเพราะมีทานมหาบางยังบอกไม่ถูกผมมีความรู้นอ้ยเรื่องภาษาบาลี ชอบแบบไหนก็เอาแบบนั้นเถอะโยมเรืองแปลได้ไม่ใด้ตันสินใจเอาเอง แบบไหนพระก็แสดงธรรมได้
ขอบคุณที่ให้ความรู้ที่ถูกต้อง
ขอบคุณมากครับอาจารย์ที่แชร์ประสบการณ์นะครับ
ผมดูเปรีญ 9 ท่านหนึ่ง เรียน ดฺ ร สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ กัตอัน กับ อันธิวะรังผิด ไหนเมื่อแปลว่ามืดบอดยังเอามาใช้อยู่หรืิอ อะนะธิวะรังถึงจะเกิน 12 คำ แตถูกแปลว่าให้ความสว่างอันไหนดีกว่าครับ
ถามว่า อันธิวะรัง แปลว่าอะไร ไม่ใช่แปลว่ามืดบอดหรือ เอามาใช้ได้จริงไหม
ถามว่า อันธิวะรัง แปลว่าอะไรถ้าคุณว่าถูก ไม่ใช่แปลว่ามืดบอดหรือ ใช้ได้จริงไหม
เนื่องจากคาถาอาราธนาธรรมนี้ เป็นอุปชาติคาถา คือ บาทที่ ๑, ๓, ๔ เป็นอินทรวงศ์คาถา ประเภทชคตีฉันท์ ๑๒ พยางค์ และบาทที่ ๒ เป็นรุจิราคาถา ประเภทอติชคตีฉันท์ ๑๓ พยางค์ ดังนั้น จะเป็น กตฺอญฺชลี อนฺธิวรํ ไม่ได้แน่นอน อีกอย่าง กตฺอญฺชลี ว่าตามหลักภาษาแล้ว ไม่ถูกต้อง คือ ใช้ไม่ได้เด็ดขาด และ อนฺธิวรํ ก็ไม่ควร เพราะว่า อะนะธิวะระ นี้ เป็นพระนามของพระพุทธเจ้า ในบรรดา ๓๙ พระนาม อีกอย่างหนึ่ง คือ กตญฺชลี และ อนธิวรํ นี้ ที่จะมีกฎเกณฑ์หรือข้อบังคับให้เปลี่ยนรูปเป็น กตฺอญฺชลี และ อนธิวรํ นั้น ไม่มีเลย จริงอยู่ ที่บอกว่า (คาถา) กฎฉันท์ ย่อมสำคัญกว่ากฎไวยากรณ์ แต่ในที่ทำไม่ได้ ทำให้เสียรูปศัพท์ทางภาษา ฯ เจริญพร
เจริญพรโยม อาตมาอยากให้โยมศึกษาให้ละเอียดมากกว่านี้ เนื่องจากโยมอธิบายผิดไปจากต้นฉบับ คือ บาฬีพระไตรปิฎก อรรถกถา และคัมภีร์วุตโตทัย ฉะนั้น อยากให้โยมทำคลิปแก้ไขใหม่ให้ถูกต้องตามบาฬีพระไตรปิฎก ฯลฯ ด้วย
ได้ความรู้เพิ่มเติมในการปฏิบัติหน้าที่มัคนายกขอบคุณมากๆค่ะสาธุค่ะสาธุ
สรุปแล้วก็ยังไม่แน่นอน
แล้วแต่ใครจะใช้คับแต่ผมใช้กะตัญชะลี ส่วนอันธิแปลว่ามืดบอดผมไม่ใช้ผมใช้อะนะธิวรังคับ
ผมสงสัยอยู่ที่หนึ่งตรงที่เทเสตุธัมมังทำไมบางท่านจืงพูดว่าตรงนี้ควรใช้เทเสหิจึงจะถูกช่วยไขข้อข้องใจให้ผมหน่อยครับ ขอขอบคุณล่วงหน้าครับ
คำทุกคำ.ของภาษาบาลี.ต้องแปลได้
ถ้าเป็นคำว่ากัตอัญชลี.ไม่มีคำแปลครับ
อะนะธิวัรัง.แปลว่า.ผู้ไม่มืดบอด.แต่ถ้า อันธิวะรัง.จะกลายเป็นผู้มืดบอดทันที..ด้วยความเคารพครับ..ขออนุญาตอ้างอิงจาก.เพจท่าน.มหาคอง ศิริจันโท ครับ
แล้วความหมายจะเหมือนเดิมไหมครับท่าน เช่นว่า กะตัญชลี กับ กัตอัญชลี และ คำว่า อะนะธิวะรัง กับคำว่า อันธิวะรัง
อนุ กัม ปิมัง
ที่เห็นตัวหนังสือขึ้น
เป็น อนุ ปัม ปิมัง
ขอบคุณนะคะ ที่นำความรู้มาเผยแพร่ให้ได้ทราบ หนูเป็นอีกคนนึง ที่เป็นมัคนายกของหมู่บ้าน จึงอยากจะรู้เรื่องราวการกล่าวพิธีกรรมนั้นๆให้ถูกต้อง กราบสาธุในสาระที่ดีมีประโยชน์ค่ะ